กิจกรรมที่ 3

ให้นักเรียนบอกข้อดีและข้อเสียของรูปแบบการเชื่อมต่อแต่ละชนิด

55 Responses

  1. ข้อดีคือ
    -ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสียคือ
    -อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
    – การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

  2. โทโพโลยีแบบบัส ข้อดี สามารถเพิ่มจำนวนและลบจำนวนได้ง่าย ข้อเสียถ้ามีจำนวนเครื่องเยอะโอกาศที่ข้อมูลจะชนกันมีมากด้วยทำให้ความเร็วในการสื่อสารช้าลง

    โทโพโลยีแบบวงเชื่อมทุกจุด
    ข้อดี การสื่อสารข้อมูลไวขึ้นโดยไม่ต้องรอเส้นทางการเชื่อมใดๆ

    ข้อเสีย เปลืองเงินจากจำนวนสัญญาน

  3. โทโพโลยีแบบบัส
    ข้อดี สามารถเพิ่มจำนวนและลบจำนวนได้ง่าย

    ข้อเสีย ถ้ามีจำนวนเครื่องเยอะโอกาศที่ข้อมูลจะชนกันมีมากด้วยทำให้ความเร็วในการสื่อสารช้าลง

    โทโพโลยีแบบวงเชื่อมทุกจุด
    ข้อดี การสื่อสารข้อมูลไวขึ้นโดยไม่ต้องรอเส้นทางการเชื่อมใดๆ

    ข้อเสีย เปลืองเงินจากจำนวนสัญญาน

  4. ข้อดี-ทำใหสะดวกสบายและรวดเร็วต่อการทำงานหรือการส่งข้อมูลข่าวสารต่างๆและติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสีย-อาจทำให้เกิดความผิดพลาดในการส่งสัญญาณแล้วเราอาจไม่ได้ตรวจสอบให้ดีก่อนทำให้ข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่ชัดเจน งานที่เราทำอาจเกิดความเสียหายได้

  5. มีข้อดีตรงที่ สามารถวางสายสัญญาณได้มากโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม โดยส่วนมากที่นิยมใช้คือระบบโทโปโลยีแบบบัส

    มีข้อเสียตรงที่ อาจเกิดปัญหาบ่อยเช่นสายชนกันหรือสัญญาณดึงกันเอง

  6. 1) แบบดาว (Star Network)
    คอมพิวเตอร์ทุกตัวและอุปกรณ์อื่นเชื่อมกับโฮสต์คอมพิวเตอร์ที่อยู่ การสื่อสารทั้งหมดระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ต้องผ่านโฮสต์คอมพิวเตอร์ เหมาะสำหรับการประมวลผลที่มีลักษณะรวมศูนย์ หากใช้โฮสต์คอมพิวเตอร์ก็จะทำให้ระบบทั้งหมดทำงานไม่ได้

    2) แบบบัส (Bus Network)
    เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์โดยใช้สายวงจรเดียว สัญญาณสามารถสื่อสารได้ 2 ทางในเครือข่ายโดยมีซอฟต์แวร์คอยช่วยแยกหากมีคอมพิวเตอร์ตัวใดในระบบล้มเหลวจะไม่มีผลต่อคอมพิวเตอร์อื่น สามารถจัดการรับข้อมูลได้ครั้งละ 1 ชุดเท่านั้น ทำให้เกิดปัญหาการจราจรของข้อมูลได้ในกรณีที่มีผู้ต้องการใช้งานพร้อมกัน

    3) แบบวงแหวน (Ring Network)
    คอมพิวเตอร์ทุกตัวเชื่อมโยงเป็นวงจรปิด ทำให้การส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่งโดยเดินทางไปในทิศทางเดียว คอมพิวเตอร์แต่ละตัวทำงานโดยอิสระ หากมีตัวใด ตัวหนึ่งเสียระบบการสื่อสารในเครือข่ายได้รับการกระทบกระเทือน ยกเว้นจะมีวงแหวนคู่ในการรับส่ง ข้อมูลในทิศทางต่างๆ กัน เพื่อเป็นเส้นทางสำรองในการป้องกันไม่ให้เครือข่ายหยุดทำงานโดยสิ้นเชิง

  7. โทโพโลยีแบบดาว
    ข้อดี – การติดตั้งบำรุงรักษาเครือข่ายทำได้ง่าย หากมีเครื่องใดเสียหาย สามารถตรวจสอบได้ง่าย และไม่มีผลต่อการทำงานของเครื่องอื่นๆ ในระบบ
    ข้อเสีย – หากอุปกรณ์กระจายสัญญาณเสีย ทุกเครื่องในระ- บบจะไม่สามารถสื่อสารกันได้

    โทโพโลยีแบบบัส
    ข้อดี – การเพิ่มและลดจำนวนเครื่องทำได้โดยง่าย และการเสียของเครื่องใดในระบบ ไม่มีผลต่อการสื่อสารของเครื่องอื่นๆ
    ข้อเสีย – หากมีจำนวนเครื่องมากขึ้น โอกาสที่ข้อมูลจะชนกันมีมากขึ้นด้วย ทำให้ความเร็วในการสื่อโดยรวมของระบบช้าลง

    โทโพโลยีแบบวงแหวน
    ข้อดี – ไม่มีโอกาสชนกันของข้อมูล เพราะข้อมูลเดินในทิศทางเดียว หลายเครื่องสามารถส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันได้
    ข้อเสีย – หากเครื่องใดเครื่องหนึ่งในระบบเสีย ทั้งระบบจะไม่สามารถสื่อสารกันได้ ในการใช้งานปกติ เกิดความล่าช้าขึ้นระหว่างที่แต่ละโหนดอ่านข้อมูล และพิจารณาว่าเป็นของตนเองหรือไม่

    โทโพโลยีแบบวงเชื่อมทุกจุด
    ข้อดี – การสื่อสารข้อมูลเร็ว เพราะคอมพิวเตอร์แต่ละคู่สามารถสื่อสารกันได้โดยไม่ต้องรอ เส้นทางการเชื่อมต่อใดๆ ขาด ไม่มีผลต่อการสื่อสารของเครื่องอื่นๆ
    ข้อเสีย – สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จากจำนวนสายสัญญาณและช่องต่อสาย ตามจำนวนเครื่องในระบบ

  8. ข้อดี – ข้อเสียของโทโปโลยีแบบบัส(BUS)
    ข้อดี
    1.ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
    ข้อเสีย
    1. อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

  9. ข้อดีคือ ระบบบัสเป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดซึ่งสามารถติดตั้งระบบและอุปกรณ์ได้ง่ายและยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณและขยายระบบได้ง่ายรวดเร็ว

    ข้อเสียคือ ข้อผิดพลาดเกิดได้ง่ายเพราะว่าถ้าสัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็สามารถที่จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถที่จะใช้งานได้

  10. ข้อดีคือ ~

    -ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสียคือ ~

    -อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

  11. ระบบเครือข่ายแบบบัส
    ข้อดี คือ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
    ข้อเสีย คือ อาจเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อพ่วงอยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากสายสัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย และขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อมูล ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของ Network ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

    ระบบเครือข่ายแบบดาว

    ข้อดี คือ เป็นระบบเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการสื่อสารข้อมูล และอุปกรณ์ระบบเครือข่ายในปัจจุบันส่วนใหญ่ผลิตออกมาเพื่อรองรับรูปแบบการเชื่อมต่อนี้ และเมื่อมีจุดใดในระบบเครือข่ายเกิดการชำรุดเสียหาย จะไม่ส่งผลต่อระบบเครือข่ายทั้งหมด (ยกเว้นความเสียหายที่เกิดขึ้นบนอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็น Backbone) และการต่อขยายระบบสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ข้อเสีย คือ อุปกรณ์ต่างๆ ยังมีราคาสูง โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับรูปแบบการเชื่อมต่อแบบบัส และจำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านระบบเครือข่ายในระดับหนึ่ง จึงจะสามารถติดตั้งและดูแลได้อย่างดี

  12. ข้อดีคือ
    เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา
    ข้อเสียคือ
    เกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

  13. ขอดีของการเชื่อมต่อ ของแบบไร้สายคือว่าสามารถเก็บง่ายและสามารถที่จะนำมาใช้ในสถานที่ๆไม่ค่อยสมบูรณ์นักกับ

    แบบสื่นสานตัวกลาง คือจะดีกว่าตรงที่ติดตั่งแบบมั่นคงค่ะ

  14. ของดีเป็นรูปแบบของการเชื่อมต่อแบบหลายเครื่องโดยข้อดีของมันคือการทำใ้ห้สะดวกสะบายขึ้นในการใช้คอมพิวเตอร์อย่างรวดเร็วทันใจตามยุคสมัยช่วยประหยัดค่าใช้จายได้มากขึ้น
    มีระบบไม่ยุ่งยากมากนัก
    ข้อเสียอาจจะเกิดขอผิดพลาดได้อาจจะส่งผลให้ระบบในสายเป็นไปตามด้วย

  15. ข้อดีคือ
    ระบบบัสเป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดเพราะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณและขยายระบบได้ง่ายรวดเร็วเเละมีความสะดวกสบาย

    ข้อเสียคือ
    ถ้ามีจำนวนเครื่องเยอะโอกาศที่ข้อมูลจะชนกันมีมากด้วยทำให้ความเร็วในการสื่อสารช้าลง
    หรือทำให้ เน็ตช้า ไงคร๊าบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ

    (ถ้าผิดพลาดประการณ์ใดขอขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย น๊าส์)

  16. ข้อดี – การสื่อสารข้อมูลเร็ว เพราะคอมพิวเตอร์แต่ละคู่สามารถสื่อสารกันได้โดยไม่ต้องรอ เส้นทางการเชื่อมต่อใดๆ ขาด ไม่มีผลต่อการสื่อสารของเครื่องอื่นๆ
    ข้อเสีย – สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จากจำนวนสายสัญญาณและช่องต่อสาย ตามจำนวนเครื่องในระบบ

  17. โทโพโลยีแบบดาว
    ข้อดี – การติดตั้งบำรุงรักษาเครือข่ายทำได้ง่าย หากมีเครื่องใดเสียหาย สามารถตรวจสอบได้ง่าย และไม่มีผลต่อการทำงานของเครื่องอื่นๆ ในระบบ
    ข้อเสีย – หากอุปกรณ์กระจายสัญญาณเสีย ทุกเครื่องในระ- บบจะไม่สามารถสื่อสารกันได้

    โทโพโลยีแบบบัส
    ข้อดี – การเพิ่มและลดจำนวนเครื่องทำได้โดยง่าย และการเสียของเครื่องใดในระบบ ไม่มีผลต่อการสื่อสารของเครื่องอื่นๆ
    ข้อเสีย – หากมีจำนวนเครื่องมากขึ้น โอกาสที่ข้อมูลจะชนกันมีมากขึ้นด้วย ทำให้ความเร็วในการสื่อโดยรวมของระบบช้าลง

    โทโพโลยีแบบวงแหวน
    ข้อดี – ไม่มีโอกาสชนกันของข้อมูล เพราะข้อมูลเดินในทิศทางเดียว หลายเครื่องสามารถส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันได้
    ข้อเสีย – หากเครื่องใดเครื่องหนึ่งในระบบเสีย ทั้งระบบจะไม่สามารถสื่อสารกันได้ ในการใช้งานปกติ เกิดความล่าช้าขึ้นระหว่างที่แต่ละโหนดอ่านข้อมูล และพิจารณาว่าเป็นของตนเองหรือไม่

    โทโพโลยีแบบวงเชื่อมทุกจุด
    ข้อดี – การสื่อสารข้อมูลเร็ว เพราะคอมพิวเตอร์แต่ละคู่สามารถสื่อสารกันได้โดยไม่ต้องรอ เส้นทางการเชื่อมต่อใดๆ ขาด ไม่มีผลต่อการสื่อสารของเครื่องอื่นๆ
    ข้อเสีย – สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จากจำนวนสายสัญญาณและช่องต่อสาย ตามจำนวนเครื่องในระบบ

    ตอบกลับ
    น.ส.เยาวพร ถาวงษ์กลาง ม.4/1, บน กรกฎาคม 13, 2010 ที่ 3:58 am Said:
    ข้อดี – ข้อเสียของโทโปโลยีแบบบัส(BUS)
    ข้อดี
    1.ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
    ข้อเสีย
    1. อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

    ตอบกลับ
    ศักดิ์สิทธิ์ แก้วกันหา (4/1), บน กรกฎาคม 13, 2010 ที่ 4:02 am Said:
    ข้อดีคือ ระบบบัสเป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดซึ่งสามารถติดตั้งระบบและอุปกรณ์ได้ง่ายและยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณและขยายระบบได้ง่ายรวดเร็ว

    ข้อเสียคือ ข้อผิดพลาดเกิดได้ง่ายเพราะว่าถ้าสัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็สามารถที่จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถที่จะใช้งานได้

    ตอบกลับ
    นาย กัมปนาท สีพิมพ์ขัด ม.4/1 เลขที่ 3, บน กรกฎาคม 13, 2010 ที่ 4:16 am Said:
    ข้อดีคือ ~

    -ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสียคือ ~

    -อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

  18. ข้อดี คือ สามารถใช้งานได้ง่ายและสะดวก ต่อการ สื่อสารทุกชนิด และยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น ค่าอินเตอร์เน็ต และยังสามารถ ใช้งานได้อย่างรวดเร๊ว ทันใจและการต่อสายไม่ยุ่งยากอีกด้วย
    ข้อเสีย คือ อาจจะเกิดข้อผิดพลาดในการติดตั้งในแต่ล่ะระบบ ได้ และอาจผิดพลาดทางระบบสายอีกด้วย

  19. ข้อดีคือ ระบบบัสเป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดซึ่งสามารถติดตั้งระบบและอุปกรณ์ได้ง่ายและยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณและขยายระบบได้ง่ายรวดเร็ว

    ข้อเสียคือ ข้อผิดพลาดเกิดได้ง่ายเพราะว่าถ้าสัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็สามารถที่จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถที่จะใช้งานได้

  20. ข้อดี
    สามารถติดตั้งง่าย
    ประหยัดค่าใช้จ่าย
    ง่ายต่อการเพิ่มสถานีใหม่

    ข้อเสีย
    ถ้าสายใดสายหยึ่งหลุดจะทำไห้การทำงานหยุด
    ถ้าระบบเกิดความผิดพลาดจะหาข้อผิดพลาดได้ยาก

  21. ข้อดี คือ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
    ข้อเสีย คือ อาจเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อพ่วงอยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว

  22. โทโพโลยีแบบบัส มีข้อดีเช่นสามารถเพิ่มจำนวนและลบจำนวนได้ง่าย ข้อเสียถ้ามีจำนวนเครื่องเยอะโอกาศที่ข้อมูลจะชนกันมีมากด้วยทำให้ความเร็วในการสื่อสารช้าลง
    ครับ

  23. ข้อดี สามารถเพิ่มจำนวนและลบจำนวนได้ง่าย

    ข้อเสีย ถ้ามีจำนวนเครื่องเยอะโอกาศที่ข้อมูลจะชนกันมีมากด้วยทำให้ความเร็วในการสื่อสารช้าลง

  24. ข้อดีคือ
    -ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสียคือ
    -อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
    – การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

  25. ข้อดีคือ
    -ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
    ส่วนข้อเสียคือ
    -อาจทำให้เกิดความผิดพลาดในการส่งสัญญาณแล้วเราอาจไม่ได้ตรวจสอบให้ดีก่อนทำให้ข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่ชัดเจน งานที่เราทำอาจเกิดความเสียหายได้ครับ

  26. ข้อดี
    คือ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญานมากนัก

    ข้อเสีย
    คือ อาจเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย

  27. -ข้อดีคือ เราสามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย และยังติอตั้งอุปกรณ์ได้ง่าย
    -ข้อเลียคือ อาจเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย หากมีคนใช้งานเครื่องคอมมากเกินไป อาจจะทำให้ระบบชนกัน

  28. 1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS)

    ข้อดี

    – ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสีย

    – อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

    – การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

    2.โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING)
    ข้อดี

    – ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เครื่องพร้อม ๆ กัน โดยกำหนดตำแหน่งปลายทางเหล่านั้นลงในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล Repeaterของแต่ละเครื่องจะทำการตรวจสอบเองว่า ข้อมูลที่ส่งมาให้นั้น เป็นตนเองหรือไม่

    – การส่งผ่านข้อมูลในเครือข่ายแบบ RING จะเป็นไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสู่เครื่อง จึงไม่มีการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลที่ส่งออกไป

    – คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน

    ข้อเสีย

    – ถ้ามีเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายเสียหาย ข้อมูลจะไม่สามารถส่งผ่านไปยังเครื่องต่อ ๆ ไปได้ และจะทำให้เครือข่ายทั้งเครือข่าย หยุดชะงักได้

    – ขณะที่ข้อมูลถูกส่งผ่านแต่ละเครื่อง เวลาส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการที่ทุก ๆ Repeater จะต้องทำการตรวจสอบตำแหน่งปลายทางของข้อมูลนั้น ๆ ทุก ข้อมูลที่ส่งผ่านมาถึง

    3.โทโปโลยีแบบดาว (STAR)
    เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะต้องส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป

    ข้อดี

    – การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทำ ได้ง่าย หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถตรวจสอบได้ง่าย และศูนย์ กลางสามารถตัดเครื่องที่เสียหายนั้นออกจากการสื่อสาร ในเครือข่ายได้เลย โดยไม่มีผลกระทบกับระบบเครือข่าย

    ข้อเสีย

    – เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้เป็น เครื่องศูนย์กลาง หรือตัว HUB เอง และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลในเครื่องอื่น ๆ ทุกเครื่อง การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทำได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้ง จะต้องเกี่ยวเนื่องกับเครื่องอื่นๆ ทั้งระบบ

    4.โทโปโลยีแบบ Hybrid
    เป็นรูปแบบใหม่ ที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เข้าด้วยกัน เพื่อเป็นการลดข้อเสียของรูปแบบที่กล่าวมา และเพิ่มข้อดี ขึ้นมา มักจะนำมาใช้กับระบบ WAN (Wide Area Network) มาก ซึ่งการเชื่อมต่อกันของแต่ละรูปแบบนั้น ต้องใช้ตัวเชื่อมสัญญาญเข้ามาเป็นตัวเชื่อม ตัวนั้นก็คือ Router เป็นตัวเชื่อมการติดต่อกัน

    5.โทโปโลยีแบบ MESH
    เป็นรูปแบบที่ถือว่า สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด เป็นรูปแบบที่ใช้วิธีการเดินสายของแต่เครื่อง ไปเชื่อมการติดต่อกับทุกเครื่องในระบบเครือข่าย คือเครื่องทุกเครื่องในระบบเครือข่ายนี้ ต้องมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่อง ระบบนี้ยากต่อการเดินสายและมีราคาแพง จึงมีค่อยมีผู้นิยมมากนัก

  29. โทโปโลยีแบบบัส (BUS

    ข้อดี

    – ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสีย

    – อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

    – การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

  30. ลดค่าใช้จ่ายจากการศึกษาของ IDC พบว่า VPN สามารถลดค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อแบบ WAN ได้ราว 40 %
    ความยืดหยุ่นสูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีการทำ Remote Access ให้ผู้ใช้ติดต่อเข้ามาใช้งานเครือข่าย จากนอกสถานที่

    VPN ทำงานอยู่บน Internet ซึ่งความเร็ว และการเข้าถึง และคุณภาพ (speed and access) เป็นเรื่องเหนือ
    การควบคุมของผู้ดูแลเครือข่าย
    VPN technologies ต่างกันตามผู้ขายแต่ละรายยังไม่มีมาตรฐานที่ใช้ร่วมกันอย่างแพร่หลายมากนัก
    ต้องมีการพัฒนาเพื่อรองรับโปรโตคอลอื่นนอกจากโปรโตคอลที่อยู่บนพื้นฐานของ IP

  31. ข้อดีคือ เป็นการต่อที่ง่าย สะดวก และรวดเร็ว ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายมากนัก และไช้เทคนิคซับซ้อน ยุ่งยาก
    ข้อเสียคือ อาจทำให้เกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย

  32. ข้อดีคือ ระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมาก ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย
    ข้อเสีย เกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ถ้ามีสัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

  33. ข้อดีคือ
    -ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสียคือ
    -อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
    – การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้ของดีเป็นรูปแบบของการเชื่อมต่อแบบหลายเครื่องโดยข้อดีของมันคือการทำใ้ห้สะดวกสะบายขึ้นในการใช้คอมพิวเตอร์อย่างรวดเร็วทันใจตามยุคสมัยช่วยประหยัดค่าใช้จายได้มากขึ้น
    มีระบบไม่ยุ่งยากมากนัก
    ข้อเสียอาจจะเกิดขอผิดพลาดได้อาจจะส่งผลให้ระบบในสายเป็นไปตามด้วย

  34. ข้อดี

    – ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสีย

    – อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

    – การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

  35. ข้อดีคือ
    -ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุด

    ข้อเสียคือ
    -อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

  36. ให้นักเรียนบอกข้อดีและข้อเสียของรูปแบบการเชื่อมต่อแต่ละชนิด

  37. ขอดี
    มีค่าใช้จายน้อย และ สามารถใช้เน็จได้หลายเครื่องพร้อมกัน

    ข้อเสีย
    เมื่อมีความผิดผาดเกิดขึ้นคอมทังหมดจะไม่สามารถเล็นอินเตอร์เน็จได้

  38. ข้อดี-ขอเสีย

    1.ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา
    1. อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง

  39. ข้อดีคือ ใช้งานง่ายลดค่าใช้จ่ายในรายการต่างๆ

    ข้อเสียคือ ถ้าทำไม่เป็นอาจก่อเกิดข้อผิดพลาดประการต่างๆได้

    ง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อพ่วงอยู่บนสาย

    สัญญาณเพียงเส้นเดียว

  40. 1) แบบดาว (Star Network)

    คอมพิวเตอร์ทุกตัวและอุปกรณ์อื่นเชื่อมกับโฮสต์คอมพิวเตอร์ที่อยู่ การสื่อสารทั้งหมดระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ต้องผ่านโฮสต์คอมพิวเตอร์ เหมาะสำหรับการประมวลผลที่มีลักษณะรวมศูนย์ หากใช้โฮสต์คอมพิวเตอร์ก็จะทำให้ระบบทั้งหมดทำงานไม่ได้

    2) แบบบัส (Bus Network)

    เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์โดยใช้สายวงจรเดียว สัญญาณสามารถสื่อสารได้ 2 ทางในเครือข่ายโดยมีซอฟต์แวร์คอยช่วยแยกหากมีคอมพิวเตอร์ตัวใดในระบบล้มเหลวจะไม่มีผลต่อคอมพิวเตอร์อื่น สามารถจัดการรับข้อมูลได้ครั้งละ 1 ชุดเท่านั้น ทำให้เกิดปัญหาการจราจรของข้อมูลได้ในกรณีที่มีผู้ต้องการใช้งานพร้อมกัน

    3) แบบวงแหวน (Ring Network)

    คอมพิวเตอร์ทุกตัวเชื่อมโยงเป็นวงจรปิด ทำให้การส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่งโดยเดินทางไปในทิศทางเดียว คอมพิวเตอร์แต่ละตัวทำงานโดยอิสระ หากมีตัวใด ตัวหนึ่งเสียระบบการสื่อสารในเครือข่ายได้รับการกระทบกระเทือน ยกเว้นจะมีวงแหวนคู่ในการรับส่ง ข้อมูลในทิศทางต่างๆ กัน เพื่อเป็นเส้นทางสำรองในการป้องกันไม่ให้เครือข่ายหยุดทำงานโดยสิ้นเชิง

  41. ข้อดี คือ ไม่ต้องเสียค่าใชจ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก

    สามารถขยายระบบได้ง่ายเสียค่าใช้จ่ายน้อย ดูและรักษา และ

    ติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับ ซ้อนมากนัก

  42. ข้อดีคือทำงานได้ดี ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
    ข้อเสียคือ เมื่อเครือข่ายผังหรือเสียหายทุกอย่างก็จะพังหมด

  43. 1.โทโปโลยีแบบบัส
    ข้อดี

    – ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสีย

    – อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

    – การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

    2.โทโปโลยีแบบวงแหวน
    ข้อดี

    – ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เครื่องพร้อม ๆ กัน โดยกำหนดตำแหน่งปลายทางเหล่านั้นลงในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล Repeaterของแต่ละเครื่องจะทำการตรวจสอบเองว่า ข้อมูลที่ส่งมาให้นั้น เป็นตนเองหรือไม่

    – การส่งผ่านข้อมูลในเครือข่ายแบบ RING จะเป็นไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสู่เครื่อง จึงไม่มีการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลที่ส่งออกไป

    – คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน

    ข้อเสีย

    – ถ้ามีเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายเสียหาย ข้อมูลจะไม่สามารถส่งผ่านไปยังเครื่องต่อ ๆ ไปได้ และจะทำให้เครือข่ายทั้งเครือข่าย หยุดชะงักได้

    – ขณะที่ข้อมูลถูกส่งผ่านแต่ละเครื่อง เวลาส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการที่ทุก ๆ Repeater จะต้องทำการตรวจสอบตำแหน่งปลายทางของข้อมูลนั้น ๆ ทุก ข้อมูลที่ส่งผ่านมาถึง

    3.โทโปโลยีแบบดาว
    ข้อดี

    – การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทำ ได้ง่าย หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถตรวจสอบได้ง่าย และศูนย์ กลางสามารถตัดเครื่องที่เสียหายนั้นออกจากการสื่อสาร ในเครือข่ายได้เลย โดยไม่มีผลกระทบกับระบบเครือข่าย

    ข้อเสีย

    – เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้เป็น เครื่องศูนย์กลาง หรือตัว HUB เอง และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลในเครื่องอื่น ๆ ทุกเครื่อง การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทำได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้ง จะต้องเกี่ยวเนื่องกับเครื่องอื่นๆ ทั้งระบบ

  44. โทโพโลยีแบบบัส
    ข้อดี สามารถเพิ่มจำนวนและลบจำนวนได้ง่าย

    ข้อเสีย ถ้ามีจำนวนเครื่องเยอะโอกาศที่ข้อมูลจะชนกันมีมากด้วยทำให้ความเร็วในการสื่อสารช้าลง

    โทโพโลยีแบบวงเชื่อมทุกจุด
    ข้อดี การสื่อสารข้อมูลไวขึ้นโดยไม่ต้องรอเส้นทางการเชื่อมใดๆ

    ข้อเสีย เปลืองเงินจากจำนวนสัญญาน

    ครับ

  45. ระบบเครือข่ายแบบบัส
    ข้อดี คือ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ดูแลรักษา ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
    ข้อเสีย คือ อาจเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อพ่วงอยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากสายสัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย และขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวดังนั้น ที่สามารถส่งข้อมูล ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของ Network ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

  46. ข้อดีคือ
    -ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
    ข้อเสียคือ
    -อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

  47. ข้อดีคือ

    -ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถ

    ขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็น

    แบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีต

    จนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแล

    รักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่ง

    ยากซับซ้อนมากนัก

    ข้อเสียคือ

    -อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่

    บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่

    ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้ง

    หมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย

    – การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง

    จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ

    ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวน

    มากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบ

    ช้าลงได้

  48. สามารถใช้ในการประกอบธุรกิจ การสือสารได้สะดวก ไม่ว่าจะอยู่ที่ใหนก็สามารถใช้อินเตอร์เน็ต ได้ในทุกที่ ทุกเวลา

    • ข้อดี
      ใช้งาย ใช้สะดวก
      ข้อเสีย
      เมื่อมีความผิดพลาดเกิดขึ้นจะต้องแก้ทั้งเนื่องจากมันพ่วงกันหมด

  49. ข้อดี ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสามารถขยายระบบได้ง่าย นิยมใช้กันมากที่สุดคือสามารถติดตั้งระบบและอุปกรณ์ได้ง่ายและยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณและขยายระบบได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย
    ข้อเสีย ทำให้ความเร็วในการสื่อโดยรวมของระบบช้าลง
    และไม่สามารถเล่นอินเตอร์เน็ตได้

  50. ข้อดีของการเชื่อมต่อเเบบไร้สายก็คือจะสะดวกสบายส่วนข้อเสียสัญญาณจะไม่ดีเท่าเเบบต่อสายเเม้สดวกก็เหอะ

  51. ข้อดี คือ ระบบเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการสื่อสารข้อมูล และอุปกรณ์ระบบเครือข่ายในปัจจุบันส่วนใหญ่ผลิตออกมาเพื่อรองรับรูปแบบการเชื่อมต่อนี้ และเมื่อมีจุดใดในระบบเครือข่ายเกิดการชำรุดเสียหาย จะไม่ส่งผลต่อระบบเครือข่ายทั้งหมด (ยกเว้นความเสียหายที่เกิดขึ้นบนอุปกรณ์ และการต่อขยายระบบสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ข้อเสีย คือ อุปกรณ์ต่างๆ ยังมีราคาสูง โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับรูปแบบการเชื่อมต่อแบบบัส และจำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านระบบเครือข่ายในระดับหนึ่ง จึงจะสามารถติดตั้งและดูแลได้อย่างดี

  52. ข้อดี
    -สามารถเพิ่ลจำนวนและลบจำนวนได้ และทำใหสะดวกสบายและรวดเร็วต่อการทำงานหรือการส่งข้อมูลข่าวสารต่างๆ

    ข้อเสีย
    -อาจทำให้เกิดความผิดพลาดในการส่งสัญญาณแล้วเราอาจไม่ได้ตรวจสอบให้ดีก่อนทำให้ข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่ชัดเจน งานที่เราทำอาจเกิดความเสียหายได้

  53. ข้อดี คือ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
    ข้อเสีย คือ อาจเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อพ่วงอยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว

  54. ข้อดีไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากนัก
    ข้อเสีย อาจจะเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย

ส่งความเห็นที่ นาย ชัชวาล อุดมลาภ ชั้น ม.4/1 เลขที่ 7 ยกเลิกการตอบ